Football Sponsored

109 ประตูมาจากไหน รวมเกร็ดน่ารู้ “โรนัลโด” ทาบสถิติ “ดาอี” ยิงสูงสุดเกมทีมชาติ – ไทยรัฐ

Football Sponsored
Football Sponsored

วันที่ 24 มิ.ย. 64 ควันหลงฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป “ยูโร 2020” รอบแบ่งกลุ่ม นัดสุดท้าย กลุ่มเอฟ คู่บิ๊กแมตช์เมื่อคืนที่ผ่านมา ซึ่ง โปรตุเกส แชมป์เก่า ไล่ตีเสมอ ฝรั่งเศส อดีตแชมป์ 2 สมัยและรองแชมป์เก่า 2-2 ทำให้ “ตราไก่” เข้ารอบ 16 ทีมในฐานะแชมป์กลุ่ม มี 5 คะแนน เช่นเดียวกับ “ฝอยทอง” ที่มี 4 คะแนน ได้โควตาอันดับ 3 ที่ดีที่สุด 1 ใน 4 ทีม จาก 6 กลุ่ม

61-75 ยิง 22 ประตู

76-90 ยิง 31 ประตู

————

รายการ

ยูโร (รอบคัดเลือก) – 31 ประตู

ฟุตบอลโลก (รอบคัดเลือก) – 31 ประตู

เกมกระชับมิตร – 19 ประตู

ยูโร (รอบสุดท้าย) – 14 ประตู

ฟุตบอลโลก (รอบสุดท้าย) – 7 ประตู

ยูฟ่า เนชันส์ ลีก – 5 ประตู

คอนเฟเดอเรชันส์ คัพ – 2 ประตู

————

ระยะ

ในเขตโทษ – 89 ประตู

นอกเขตโทษ – 20 ประตู

จุดโทษ – 14 ประตู

ฟรีคิก – 9 ประตู

————

คู่แข่ง (44 ชาติ)

7 ประตู – ลิทัวเนีย, สวีเดน

6 ประตู – อันดอร์รา, ลักเซมเบิร์ก, ฮังการี

5 ประตู – อาร์เมเนีย, ลัตเวีย 

4 ประตู – เอสโตเนีย, หมู่เกาะแฟโร, เนเธอร์แลนด์

3 ประตู – เบลเยียม, เดนมาร์ก, ไอร์แลนด์เหนือ, รัสเซีย, สเปน, สวิตเซอร์แลนด์

2 ประตู – อาเซอร์ไบจาน, บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา, แคเมอรูน, ไซปรัส, เช็ก, อียิปต์, คาซัคสถาน, ซาอุดีอาระเบีย, ฝรั่งเศส

1 ประตู – อาร์เจนตินา, โครเอเชีย, เอกวาดอร์, ฟินแลนด์, กานา, กรีซ, ไอซ์แลนด์, อิหร่าน, อิสราเอล โมร็อกโก, เยอรมนี, เวลส์, ยูเครน, สโลวะเกีย, เซอร์เบีย, โปแลนด์, ปานามา, เกาหลีเหนือ, นิวซีแลนด์

————

9 แฮตทริก

1. ไอร์แลนด์เหนือ (3 ประตู กันยายน ปี 2013)

2. สวีเดน (3 ประตู พฤศจิกายน ปี 2013)

3. อาร์เมเนีย (3 ประตู มิถุนายน ปี 2015)

4. อันดอร์รา (4 ประตู ตุลาคม ปี 2016)

5. หมู่เกาะแฟโร (3 ประตู สิงหาคม ปี 2017)

6. สเปน (3 ประตู มิถุนายน ปี 2018)

7. สวิตเซอร์แลนด์ (3 ประตู มิถุนายน ปี 2019)

8. ลิทัวเนีย (4 ประตู กันยายน ปี 2019)

9. ลิทัวเนีย (3 ประตู พฤศจิกายน ปี 2019)

Football Sponsored
ฟุตบอล

ฟุตบอลเป็นกีฬาที่นิยมเล่นมากที่สุดในประเทศไทย โดยเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2440 และฟุตบอลทีมชาติไทยได้ร่วมเป็นสมาชิกฟีฟ่า เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2468 นับว่าเป็นประเทศแรกของโซนเอเชียที่เป็นสมาชิกฟีฟ่า แต่เป็นทีมที่ในอดีตไม่ประสบความสำเร็จในระดับไหนเลย แต่ได้เข้าร่วมเป็นเจ้าภาพเอเชียนคัพ 2007 ในอดีตประเทศไทยไม่ค่อยสนับสนุนนักฟุตบอลอาชีพนัก นักเตะจึงนิยมไปค้าแข้งกับประเทศอื่นที่มีการสนับสนุนดีกว่า แต่หลังจากปี พ.ศ. 2552 ฟุตบอลอาชีพไทยเริ่มตื่นตัว เนื่องจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียตั้งกฎข้อบังคับให้แต่ละสโมสรจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่มีสโมสรองค์กร รัฐวิสาหกิจ ปรับตัวไม่ได้ จึงต้องมีการยุบทีมทิ้ง หรือขายทีมไป หลังจากไทยพรีเมียร์ลีก 2552 เริ่มขึ้น แฟนบอลเริ่มเข้ามาชมเกมส์ในสนามมากขึ้น เงินเดือนนักเตะสูงขึ้น การจัดการของแต่ละสโมสรดีขึ้น ลีกไทยค่อย ๆ พัฒนาเป็นระดับ ส่งผลทำให้นักฟุตบอลที่เคยไปค้าแข้งต่างแดนกลับมายังประเทศไทย เนื่องจากค่าตอบแทนไม่แตกต่างกันมากนัก แต่ผลงานทีมชาติกลับสวนทางเพราะว่าต้องใช้เวลาปรับตัว เนื่องจากยุคที่ลีกบ้านเรายังไม่เจริญนักฟุตบอลมีเวลาเตรียมทีมเยอะ แต่ปัจจุบันแทบจะไม่ค่อยมีเวลาเพราะสโมสรเรียกเก็บตัวซ้อมเพื่อการแข่งขัน นักเตะจึงต้องใช้เวลาปรับตัว แต่ถือว่าฟุตบอลของประเทศไทยพัฒนาอย่างก้าวกระโดด เพราะหลังจากนั้นเพียง 2 ปี แฟนบอลหันมาเชียร์ทีมในจังหวัดตัวเองมากขึ้น ทีมกระจายไปยังต่างจังหวัดมากขึ้น ส่งผลทำให้เกิดท้องถิ่นนิยม จึงเป็นที่มาที่แฟนบอลไทยเข้าไปชมเกมฟุตบอลลีกดิวิชั่น 1 และดิวิชั่น 2 มากขึ้นนั่นเอง

This website uses cookies.