Football Sponsored
Categories: ฟีฟา

ปักหมุดรอเลย! Shadow and Bone ซีซั่น 2 สตรีมพร้อมกันทั่วโลก 16 มีนาคม 2566 ทาง Netflix เท่านั้น!

Football Sponsored
Football Sponsored

Netflix เผยภาพแรกจากซีซั่น 2 ให้แฟนๆ ได้ดูให้หายคิดถึง

Netflix เรียกเสียงฮือฮาให้แฟนๆ Shadow and Bone ที่กำลังนับวันตั้งตารอชมซีซั่น 2 โดยได้ออกมาประกาศวันฉาย Shadow and Bone (ตำนานกรีชา) ซีซั่น 2 ว่าพร้อมให้สตรีมรับชมทั่วโลกในวันที่ 16 มีนาคม 2566 ทาง Netflix เท่านั้น! ในระหว่างที่นับถอยหลังรอรับชม Shadow and Bone Season 2 เรามาดูภาพแรกสุดตื่นตาตื่นใจของซีซั่น 2 ให้หายคิดถึงกันไปพลางๆ กันดีกว่า

เกี่ยวกับ Shadow and Bone Season 2 (ตำนานกรีชา) ซีซั่น 2:

ผู้จัดร่วม ผู้อำนวยการสร้าง และผู้เขียนบท: เอริค ไฮส์เซอเรอร์ (จาก “Chronology”) และเดแกน ฟริคลินด์

ผู้ประพันธ์และผู้อำนวยการสร้าง: ลีห์ บาร์ดูโก

ผู้อำนวยการสร้าง: ชอว์น เลวี่, จอช แบร์รี่, แดน เลวีน กับแดน โคเฮนจาก 21 Laps Entertainment, พูยา ชาห์บาเซียน (Loom Studios) และเชลลีย์ มีลส์

ผู้กำกับ: โบลา โอกัน (ตอน 1 และ 2) ลอร่า เบลซีย์ (ตอน 3 และ 4) คาเรน กาวิโอลา (ตอน 5 และ 6) และแมร์ซี อัลมัส (ตอน 7 และ 8)

จำนวนตอน: 8 ตอน (ตอนละ 1 ชั่วโมง)

นักแสดง: เจสซี่ เมย์ ลี (อาลีนา สตาร์คอฟ) อาร์ชี่ เรโนซ์ (มัลเยน โอเร็ตเซฟ) เบน บาร์นส์ (นายพลคิริแกน) เฟร็ดดี้ คาร์เตอร์ (คาซ เบร็คเคอร์) อามิตา สุมาน (อิเนจ) คิต ยัง (เจสเปอร์ ฟาฮี) แดเนียล กัลลิแกน (นีน่า เซนิค) แพทริค กิ๊บสัน (นิโคไล แลนต์ซอฟ) คาลาฮาน สก็อกแมน (แมทเทียส เฮลวาร์) เดซี่ เฮด (เจนยา ซาฟฟิน) แจ็ค วูล์ฟ (ไวแลน เฮนดริกซ์) ลูอิส แทน (โทลยา ยูล-บาทาร์) และแอนนา ลีออง โบรฟี (ทามาร์ คิร์-บาทาร์)

ช่องทางโซเชียลมีเดีย:

Twitter: @shadowandbone_

Facebook: @ShadowAndBoneTV

Instagram: @shadowandbone

Football Sponsored
ฟุตบอล

ฟุตบอลเป็นกีฬาที่นิยมเล่นมากที่สุดในประเทศไทย โดยเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2440 และฟุตบอลทีมชาติไทยได้ร่วมเป็นสมาชิกฟีฟ่า เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2468 นับว่าเป็นประเทศแรกของโซนเอเชียที่เป็นสมาชิกฟีฟ่า แต่เป็นทีมที่ในอดีตไม่ประสบความสำเร็จในระดับไหนเลย แต่ได้เข้าร่วมเป็นเจ้าภาพเอเชียนคัพ 2007 ในอดีตประเทศไทยไม่ค่อยสนับสนุนนักฟุตบอลอาชีพนัก นักเตะจึงนิยมไปค้าแข้งกับประเทศอื่นที่มีการสนับสนุนดีกว่า แต่หลังจากปี พ.ศ. 2552 ฟุตบอลอาชีพไทยเริ่มตื่นตัว เนื่องจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียตั้งกฎข้อบังคับให้แต่ละสโมสรจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่มีสโมสรองค์กร รัฐวิสาหกิจ ปรับตัวไม่ได้ จึงต้องมีการยุบทีมทิ้ง หรือขายทีมไป หลังจากไทยพรีเมียร์ลีก 2552 เริ่มขึ้น แฟนบอลเริ่มเข้ามาชมเกมส์ในสนามมากขึ้น เงินเดือนนักเตะสูงขึ้น การจัดการของแต่ละสโมสรดีขึ้น ลีกไทยค่อย ๆ พัฒนาเป็นระดับ ส่งผลทำให้นักฟุตบอลที่เคยไปค้าแข้งต่างแดนกลับมายังประเทศไทย เนื่องจากค่าตอบแทนไม่แตกต่างกันมากนัก แต่ผลงานทีมชาติกลับสวนทางเพราะว่าต้องใช้เวลาปรับตัว เนื่องจากยุคที่ลีกบ้านเรายังไม่เจริญนักฟุตบอลมีเวลาเตรียมทีมเยอะ แต่ปัจจุบันแทบจะไม่ค่อยมีเวลาเพราะสโมสรเรียกเก็บตัวซ้อมเพื่อการแข่งขัน นักเตะจึงต้องใช้เวลาปรับตัว แต่ถือว่าฟุตบอลของประเทศไทยพัฒนาอย่างก้าวกระโดด เพราะหลังจากนั้นเพียง 2 ปี แฟนบอลหันมาเชียร์ทีมในจังหวัดตัวเองมากขึ้น ทีมกระจายไปยังต่างจังหวัดมากขึ้น ส่งผลทำให้เกิดท้องถิ่นนิยม จึงเป็นที่มาที่แฟนบอลไทยเข้าไปชมเกมฟุตบอลลีกดิวิชั่น 1 และดิวิชั่น 2 มากขึ้นนั่นเอง

This website uses cookies.