Football Sponsored
Categories: ฟีฟา

วิเคราะห์บอล แบรสต์ vs สตราส์บูร์ก วันอาทิตย์ที่ 04 กันยายน 2565 | thsport.com

Football Sponsored
Football Sponsored

วิเคราะห์บอล แบรสต์ – สตราส์บูร์ก

เพิ่ม : วันอาทิตย์ที่ 04 กันยายน 2565

103

แบรสต์

vs

คืนวันอาทิตย์ ที่ 04 กันยายน 2565 – 20:00

สตราส์บูร์ก

แบรสต์

มิเชล เดอร์ ซากาเรียน เทรนเนอร์ชาวอาร์เมเนีย พาทีมแพ้ 3 นัดติดต่อกัน โดยเกมล่าสุดบุกพ่าย แรนส์ 1-3

ความพร้อมเกมนี้จะพลาดใช้งาน สเตฟ มูนิเย่ (ส้นเท้า) กองหน้าที่เจออาการบาดเจ็บเล่นงาน นอกจากนั้น โนอาห์ ฟาดีกา เจออาการบาดเจ็บบริเวณข้อเท้า รวมไปถึง โรแม็ง เดล กาสตีโย่ พักรักษาตัว 3-4 สัปดาห์ ล่าสุด เฌเรมี่ เลอ ดูอารง ไม่พรอมรบ แต่ ปิแอร์ ลีส์-เมอลู พ้นโทษแบน

สตราส์บูร์ก

ฌูเลียง สเตฟ็อง เปิดฤดูกาลใหม่ยังไม่ชนะ โดยเกมล่าสุดเปิดบ้านเสมอ น็องต์ 1-1 

ยังคงพลาดใช้งาน นอร์ดีน ก็องดีล เจ็บกล้ามเนื้อ, คาโรล ฟีล่า มีปัญหาไส้เลื่อน และ อิบราอีมา ซิสโซโก้ ไม่ฟิต นอกจากนั้น เชอร์ซีโน่ เนียมซี่ และ ลูก้าส์ แปร์แร็ง สองกองหลังตัวหลักมีปัญหาบาดเจ็บ ในราย ดิมิทรี ลีเอนาร์ กับ โตมาส์ เดอเลน ไม่พร้อมรบ

แต่ได้ตัว มักซีม เลอ มาร์กช็องด์ หายเจ็บกลับมา

11 ผู้เล่นตามคาด

แบรสต์ (4-2-3-1) : มาร์โค บีโซต – ฌอง-เกวิน ดูแวร์น, คริสโตฟ เอแรลล์, อาชราฟ ดารี่, ลีลีย็อง บราสซีเย่ร์ – ปิแอร์ ลีส์-เมอลู, อารีส์ เบลเกบลา – มาธีอัส เปเรยร่า ลาช, ยูเซฟ เบอไลลี่, ฟร้องก์ โอโนราต์ – อิสลาม สลิมานี่

สตราส์บูร์ก (3-5-2) : มัตซ์ เซลส์ – อิสมาแอล ดูกูเร่, มักซีม เลอ มาร์กช็องด์, อเล็กซานเดอร์ จีกู – โรนาแอล ปิแอร์-กาเบรียล, ซานยิน เพอร์ซิช, อาเดรียง โตมาส์ซง, ฌอง-ริซแนร์ แบลล์การ์ด, โกแล็ง ดักดา – เควิน กาไมโร่, ลูโดวิก อาชอร์ก

สนาม : สต๊าด ฟร็องซิส เลอ เบล

ผู้ตัดสิน : บาสเตียง เดอเชอปี

ผลงาน แบรสต์ 5 นัดล่าสุด
01/09/2022 แรนส์ 3 : 1 แบรสต์
28/08/2022 แบรสต์ 0 : 7 มงต์เปลลิเย่ร์
21/08/2022 อองเช่ร์ 1 : 3 แบรสต์
15/08/2022 แบรสต์ 1 : 1 โอลิมปิก มาร์กเซย
07/08/2022 ล็องส์ 3 : 2 แบรสต์
ผลงาน สตราส์บูร์ก 5 นัดล่าสุด
01/09/2022 สตราส์บูร์ก 1 : 1 น็องต์
27/08/2022 Auxerre 1 : 0 สตราส์บูร์ก
21/08/2022 สตราส์บูร์ก 1 : 1 แร็งส์
14/08/2022 นีซ 1 : 1 สตราส์บูร์ก
06/08/2022 สตราส์บูร์ก 1 : 2 โมนาโก
สถิติการพบกัน แบรสต์ – สตราส์บูร์ก
07/05/2022 แบรสต์ 0 : 1 สตราส์บูร์ก
29/08/2021 สตราส์บูร์ก 3 : 1 แบรสต์
04/02/2021 สตราส์บูร์ก 2 : 2 แบรสต์
25/10/2020 แบรสต์ 0 : 3 สตราส์บูร์ก
04/12/2019 แบรสต์ 5 : 0 สตราส์บูร์ก

ตารางคะแนน

No. Name W D L HOME AWAY GD PTS
W D L W D L
1. ปารีส แซงต์แชร์กแมง 5 1 0 1 1 0 4 0 0 20 16
2. โอลิมปิก มาร์กเซย 5 1 0 3 0 0 2 1 0 10 16
3. โอลิมปิก ลียง 4 1 0 4 0 0 0 1 0 10 13
4. ล็องส์ 4 1 0 3 0 0 1 1 0 8 13
5. มงต์เปลลิเย่ร์ 3 0 2 2 0 1 1 0 1 6 9
6. แรนส์ 2 1 2 2 0 1 0 1 1 1 7
7. ลอริยองต์ 2 1 1 1 0 0 1 1 1 -1 7
8. ลีลล์ 2 1 2 1 0 2 1 1 0 -2 7
9. Auxerre 2 1 3 1 1 1 1 0 2 -4 7
10. น็องต์ 1 3 2 1 1 1 0 2 1 -2 6
11. ทรัวส์ 2 0 3 1 0 1 1 0 2 -3 6
12. แกลร์มง 2 0 3 1 0 1 1 0 2 -4 6
13. ตูลูส 1 2 2 0 2 1 1 0 1 -2 5
14. แร็งส์ 1 2 2 0 1 1 1 1 1 -3 5
15. นีซ 1 2 2 0 1 1 1 1 1 -3 5
16. โมนาโก 1 2 2 0 1 2 1 1 0 -4 5
17. แบรสต์ 1 1 3 0 1 1 1 0 2 -8 4
18. สตราส์บูร์ก 0 3 2 0 2 1 0 1 1 -2 3
19. อองเช่ร์ 0 2 4 0 1 2 0 1 2 -11 2
20. อฌักซิโอ้ 0 1 4 0 1 1 0 0 3 -6 1

ปัญหาของ สตราส์บูร์ก คือการขาดกำลังหลักไปเยอะโดยเฉพาะแนวรับ แม้ว่ามาเน้นรัดกุมรอสวนกลับแถมผลงานเจ้าบ้านกำลังเป๋ แต่ฝั่ง แบรสต์ อยากฮึดกลับมาอีกครั้งและต้องการเอาใจแฟนบอล มองว่านัดนี้เจ้าถิ่นมีโอกาสเฮมากกว่า

ผลที่คาด : แบรสต์ ชนะ 1-0

ระดับ : {{val.member.level}}

{{val.member.post|number}}

ความคิดเห็นที่ {{((content.page.data.current-1)*content.page.data.size)+$index+1}}

{{val.time_create * 1000 | date : ‘dd/MM/yyyy HH:mm:ss’}} น.

แก้ไขเมื่อ {{val.time_update * 1000 | date : ‘dd/MM/yyyy HH:mm:ss’}} น.

ระดับ : {{v.member.level}}

ความเห็นตอบกลับที่ {{k+1}}

{{v.time_create * 1000 | date : ‘dd/MM/yyyy HH:mm น.’}}

แก้ไขเมื่อ {{v.time_update * 1000 | date : ‘dd/MM/yyyy HH:mm น.’}}

ระดับ :

ดูความเห็นย่อย ({{val.reply}})

แสดงความคิดเห็น

กรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อแสดงความคิดเห็น

Football Sponsored
ฟุตบอล

ฟุตบอลเป็นกีฬาที่นิยมเล่นมากที่สุดในประเทศไทย โดยเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2440 และฟุตบอลทีมชาติไทยได้ร่วมเป็นสมาชิกฟีฟ่า เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2468 นับว่าเป็นประเทศแรกของโซนเอเชียที่เป็นสมาชิกฟีฟ่า แต่เป็นทีมที่ในอดีตไม่ประสบความสำเร็จในระดับไหนเลย แต่ได้เข้าร่วมเป็นเจ้าภาพเอเชียนคัพ 2007 ในอดีตประเทศไทยไม่ค่อยสนับสนุนนักฟุตบอลอาชีพนัก นักเตะจึงนิยมไปค้าแข้งกับประเทศอื่นที่มีการสนับสนุนดีกว่า แต่หลังจากปี พ.ศ. 2552 ฟุตบอลอาชีพไทยเริ่มตื่นตัว เนื่องจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียตั้งกฎข้อบังคับให้แต่ละสโมสรจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่มีสโมสรองค์กร รัฐวิสาหกิจ ปรับตัวไม่ได้ จึงต้องมีการยุบทีมทิ้ง หรือขายทีมไป หลังจากไทยพรีเมียร์ลีก 2552 เริ่มขึ้น แฟนบอลเริ่มเข้ามาชมเกมส์ในสนามมากขึ้น เงินเดือนนักเตะสูงขึ้น การจัดการของแต่ละสโมสรดีขึ้น ลีกไทยค่อย ๆ พัฒนาเป็นระดับ ส่งผลทำให้นักฟุตบอลที่เคยไปค้าแข้งต่างแดนกลับมายังประเทศไทย เนื่องจากค่าตอบแทนไม่แตกต่างกันมากนัก แต่ผลงานทีมชาติกลับสวนทางเพราะว่าต้องใช้เวลาปรับตัว เนื่องจากยุคที่ลีกบ้านเรายังไม่เจริญนักฟุตบอลมีเวลาเตรียมทีมเยอะ แต่ปัจจุบันแทบจะไม่ค่อยมีเวลาเพราะสโมสรเรียกเก็บตัวซ้อมเพื่อการแข่งขัน นักเตะจึงต้องใช้เวลาปรับตัว แต่ถือว่าฟุตบอลของประเทศไทยพัฒนาอย่างก้าวกระโดด เพราะหลังจากนั้นเพียง 2 ปี แฟนบอลหันมาเชียร์ทีมในจังหวัดตัวเองมากขึ้น ทีมกระจายไปยังต่างจังหวัดมากขึ้น ส่งผลทำให้เกิดท้องถิ่นนิยม จึงเป็นที่มาที่แฟนบอลไทยเข้าไปชมเกมฟุตบอลลีกดิวิชั่น 1 และดิวิชั่น 2 มากขึ้นนั่นเอง

This website uses cookies.