Football Sponsored
Categories: ฟุตบอล

แฟร้งค์เฟิร์ต vs ชาลเก้ 04 บุนเดสลีกา 2022/2023

Football Sponsored
Football Sponsored

คิดอย่างไรกับเรื่องนี้ ? รอโหลดข้อความของเพื่อน ๆ ด้านล่างนี้สักครู่ แล้วร่วมแสดงความคิดเห็นของคุณได้เลย !

ผลงานที่เจอกันล่าสุด

วันที่ รายการ ทีม VS ทีม
15 พ.ค. 64 บุนเดสลีกา ชาลเก้ 04 4 – 3 แฟร้งค์เฟิร์ต
18 ม.ค. 64 บุนเดสลีกา แฟร้งค์เฟิร์ต 3 – 1 ชาลเก้ 04
17 มิ.ย. 63 บุนเดสลีกา แฟร้งค์เฟิร์ต 2 – 1 ชาลเก้ 04
16 ธ.ค. 62 บุนเดสลีกา ชาลเก้ 04 1 – 0 แฟร้งค์เฟิร์ต
6 เม.ย. 62 บุนเดสลีกา ชาลเก้ 04 1 – 2 แฟร้งค์เฟิร์ต

ผลงาน 5 นัดล่าสุด

วันที่ รายการ ทีม VS ทีม
13 ม.ค. 66 ฟุตบอลอุ่นเครื่อง Lech Poznań 0 – 1 แฟร้งค์เฟิร์ต
13 ม.ค. 66 ฟุตบอลอุ่นเครื่อง Lech Poznań 2 – 2 แฟร้งค์เฟิร์ต
10 ธ.ค. 65 ฟุตบอลอุ่นเครื่อง อตาลันต้า 2 – 2 แฟร้งค์เฟิร์ต
18 ต.ค. 65 เดเอฟเบ โพคาล สตุ๊ตการ์ท คิกเกอร์ 0 – 2 แฟร้งค์เฟิร์ต
14 ก.ย. 65 ยูฟ่า แชมเปียนส์ ลีก มาร์กเซย 0 – 1 แฟร้งค์เฟิร์ต
วันที่ รายการ ทีม VS ทีม
14 ม.ค. 66 ฟุตบอลอุ่นเครื่อง ชาลเก้ 04 0 – 1 แวร์เดอร์ เบรเมน
10 ม.ค. 66 ฟุตบอลอุ่นเครื่อง ชาลเก้ 04 0 – 1 เนิร์นแบร์ก
7 ม.ค. 66 ฟุตบอลอุ่นเครื่อง ชาลเก้ 04 2 – 2 Zürich
23 ธ.ค. 65 ฟุตบอลอุ่นเครื่อง Osnabrück 2 – 2 ชาลเก้ 04
10 ธ.ค. 65 ฟุตบอลอุ่นเครื่อง ราปิด เวียนนา 2 – 2 ชาลเก้ 04

สถิติ

แฟร้งค์เฟิร์ต ชาลเก้ 04

โอกาสยิงประตู

ยิงเข้ากรอบ

ยิงไม่เข้ากรอบ

ถูกบล๊อค

ยิงจากในกรอบเขตโทษ

ยิงจากนอกกรอบเขตโทษ

ผ่านบอล

ผ่านบอลสำเร็จ

เปอร์เซ็นต์ผ่านบอลสำเร็จ

สร้างโอกาสบุก

โอกาสบุกที่สร้างความอันตราย

แฟร้งค์เฟิร์ต ชาลเก้ 04

เปอร์เซ็นต์การครองบอล

ทำฟาวล์

เตะมุม

ล้ำหน้า

ใบเหลือง

ใบแดง

ป้องกันประตู

จำนวนการเปลี่ยนตัว

ลูกเตะจากประตู

ฟรีคิก

ทุ่มบอล

รายชื่อผู้เล่น

แฟร้งค์เฟิร์ต

ตัวจริง

สำรอง

เปลี่ยนตัว

ชาลเก้ 04

ตัวจริง

สำรอง

เปลี่ยนตัว

Football Sponsored
ฟุตบอล

ฟุตบอลเป็นกีฬาที่นิยมเล่นมากที่สุดในประเทศไทย โดยเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2440 และฟุตบอลทีมชาติไทยได้ร่วมเป็นสมาชิกฟีฟ่า เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2468 นับว่าเป็นประเทศแรกของโซนเอเชียที่เป็นสมาชิกฟีฟ่า แต่เป็นทีมที่ในอดีตไม่ประสบความสำเร็จในระดับไหนเลย แต่ได้เข้าร่วมเป็นเจ้าภาพเอเชียนคัพ 2007 ในอดีตประเทศไทยไม่ค่อยสนับสนุนนักฟุตบอลอาชีพนัก นักเตะจึงนิยมไปค้าแข้งกับประเทศอื่นที่มีการสนับสนุนดีกว่า แต่หลังจากปี พ.ศ. 2552 ฟุตบอลอาชีพไทยเริ่มตื่นตัว เนื่องจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียตั้งกฎข้อบังคับให้แต่ละสโมสรจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่มีสโมสรองค์กร รัฐวิสาหกิจ ปรับตัวไม่ได้ จึงต้องมีการยุบทีมทิ้ง หรือขายทีมไป หลังจากไทยพรีเมียร์ลีก 2552 เริ่มขึ้น แฟนบอลเริ่มเข้ามาชมเกมส์ในสนามมากขึ้น เงินเดือนนักเตะสูงขึ้น การจัดการของแต่ละสโมสรดีขึ้น ลีกไทยค่อย ๆ พัฒนาเป็นระดับ ส่งผลทำให้นักฟุตบอลที่เคยไปค้าแข้งต่างแดนกลับมายังประเทศไทย เนื่องจากค่าตอบแทนไม่แตกต่างกันมากนัก แต่ผลงานทีมชาติกลับสวนทางเพราะว่าต้องใช้เวลาปรับตัว เนื่องจากยุคที่ลีกบ้านเรายังไม่เจริญนักฟุตบอลมีเวลาเตรียมทีมเยอะ แต่ปัจจุบันแทบจะไม่ค่อยมีเวลาเพราะสโมสรเรียกเก็บตัวซ้อมเพื่อการแข่งขัน นักเตะจึงต้องใช้เวลาปรับตัว แต่ถือว่าฟุตบอลของประเทศไทยพัฒนาอย่างก้าวกระโดด เพราะหลังจากนั้นเพียง 2 ปี แฟนบอลหันมาเชียร์ทีมในจังหวัดตัวเองมากขึ้น ทีมกระจายไปยังต่างจังหวัดมากขึ้น ส่งผลทำให้เกิดท้องถิ่นนิยม จึงเป็นที่มาที่แฟนบอลไทยเข้าไปชมเกมฟุตบอลลีกดิวิชั่น 1 และดิวิชั่น 2 มากขึ้นนั่นเอง

This website uses cookies.